
ขั้นตอนการขออนุญาตติดตั้งโซลาร์เซลล์ ดัดแปลงตามแบบ อ.1
การขอใบอนุญาตดัดแปลงอาคาร หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ( อ.1) ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่ใช้สำหรับในการยื่นขอใบอนุญาตประกอบกิจการการผลิตไฟฟ้า
การขอใบอนุญาตดัดแปลงอาคาร หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ( อ.1) ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่ใช้สำหรับในการยื่นขอใบอนุญาตประกอบกิจการการผลิตไฟฟ้า
ยุคที่แผงโซลาร์เซลล์ (Solar cell) หรือเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์หรือบ้างก็เรียกกันให้เก๋ๆว่าเซลล์สุริยะ กำลังได้รับความนิยมจากประชาชนคนทั่วไปและภาคส่วนต่างๆ ของประเทศทั่วโลก เพราะได้ยินเสียงลือเสียงเล่าอ้างจากหลายทางว่าเป็นเทคโนโลยีที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพใช้ทดแทนพลังงานไฟฟ้าจากการไฟฟ้า
กระแสการใช้พลังงานทดแทนหรือพลังงานธรรมชาติกำลังได้รับความนิยมอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทั้งในต่างประเทศหรือในประเทศไทยก็เหมือนกัน ปัจจุบันมีแนวคิดนำพลังงานธรรมชาติที่มีอยู่เหลือเฟืออย่าง“แสงแดด”มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในรูปแบบของการผลิตในภาคครัวเรือนหรือที่เรียกกันในชื่อ “โซล่ารูฟ”
ในอีก 20 ปีข้างหน้า ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ที่เป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตกระแสไฟฟ้าของไทยจะหมดลง ขณะที่ความต้องการใช้ไฟฟ้าของคนไทยกลับเพิ่มขึ้น ซึ่งนับว่าวิกฤตพลังงานใกล้จะมาถึง
การขอรับการส่งเสริม และสิทธิประโยชน์เกี่ยวกับการขอรับการส่งเสริมการลงทุนเมื่อติดตั้งโซล่าร์เซลล์ สิทธิประโยชน์ต่างๆ อาทิ เช่น การยกเว้น/ลดหย่อนภาษีเงินได้นิตบุคคล การยกเว้น/ลดหย่อนอากรขาเข้าเครื่องจักร และวัตถุดิบ/วัสดุจำเป็น และสิทธิประโยขน์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร
ทุกวันนี้พลังงานแสงอาทิตย์ หรือที่เรียกกันติดปากว่าโซล่าร์เซลล์กำลังมาแรง โดยเฉพาะโซล่าร์บนหลังคาบ้าน (Solar Rooftop) วันนี้ในฐานะที่เราอยู่ในวงการโซล่าร์ฯจึงอยากให้ความรู้ ความเข้าใจง่ายๆเกี่ยวกับประโยชน์ของโซล่าร์เซลล์มาฝากกับทุกคน
พลังงานแสงอาทิตย์เติบโตมากที่สุดในหมู่แหล่งเชื้อเพลิงเป็นครั้งแรก ซึ่ง IEA คาดว่าจะมีการติดตั้งพลังงานทดแทนประมาณ 1,000 กิกะวัตต์ภายใน 5 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศมากกว่าร้อยละ 50 ของพลังงานที่ใช้ เนื่องจากแหล่งพลังงานและการผลิตภายในประเทศมีจำกัด ไม่สามารถผลิตได้เพียงพอต่อความต้องการจึงเป็นสาเหตุให้ประเทศขาดความมั่นคงทางด้านพลังงาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงตระหนักถึงปัญหาการใช้พลังงานของคนไทย รวมถึงปัญหาที่อาจจะขาดแคลนพลังงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ดาวเทียมผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งแผงผลิตพลังงานขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า SPS-ALPHA (Solar Power Satellite via Arbitrarily Large Phased Array) โครงการนี้จะสร้างสถานีผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่จากชิ้นส่วนขนาดเล็กนับหมื่นชิ้นซึ่งจะสามารถจะส่งผ่านพลังงานระดับ พันเมกกะวัตต์ ผ่านห้วงอวกาศกลับมายังโลกได้
หลายท่านอาจเคยสงสัยว่าจุดเริ่มต้นของโซล่าเซลล์ (Solar cell) ที่เราใช้กันในทุกวันนี้เกิดจากการนำเทคโนโลยีเกี่ยวกับรอยต่อพี-เอ็นไปใช้งานเกี่ยวกับการอวกาศในอดีต ซึ่งประสบผลสำเร็จและถูกพัฒนาจนมาเป็นโซล่าเซลล์ (Solar cell) ในยุคปัจจุบัน